วงโคจรค้างฟ้า:
วงโคจรแนวขั้วโลก:
Meteor

ผู้ดำเนินการ: Roshydromet
ประเภทของวงโคจร: วงโคจรสัมพันธ์กับดวงอาทิตย์ กล่าวคือดาวเทียมจะผ่านข้ามจุดที่แน่นอนจุดหนึ่งตรงเวลาเดิมของวันเสมอ.
ความสูง: 821 km
คาบเวลาของการหมุนรอบโลก: 102 นาที, ทำได้14 วงรอบการโคจรต่อวันในการผ่านขาขึ้น และขาลง. คาบเวลาของการหมุนรอบโลกเป็นเวลาที่ดาวเทียมใช้ในการหมุนรอบโลกหนึ่งรอบเต็มเสร็จสมบูรณ์.
เครื่องมือวัด: MSU-MR
จำนวนแถบสเปกตรัม: 6
ความละเอียดที่จุด subsatellite: 1 km
เรดิโอมิเตอร์ทำการสแกนพื้นผิวโลกทีละเส้น; แต่ละเส้นจะประกอบด้วยลำดับขององค์ประกอบภาพที่แยกย่อยหรือพิกเซล. สำหรับแต่ละพิกเซล เรดิโอมิเตอร์นั้นจะตรวจวัดพลังงานการแผ่รังสีของแถบสเปกตรัมที่แตกต่างกัน. การวัดนี้จะถูกเข้ารหัสดิจิทอลและส่งผ่านไปยังสถานีภาคพื้นดินเพื่อดำเนินการประมวลผลขั้นต้น ก่อนที่ได้รับการเผยแพร่ไปสู่ประชาคมของผู้ใช้งาน.
วงโคจรค้างฟ้า:
วงโคจรแนวขั้วโลก: