หน้าหลัก
คำถามที่ถูกถามบ่อย:
วงโคจรค้างฟ้า:
วงโคจรแนวขั้วโลก:

ดาวเทียมพยากรณ์อากาศ

ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้า

ดาวเทียมวงโคจรค้างฟ้าตรวจสภาพอากาศถูกดำเนินงานโดย EUMETSAT (Meteosat), สหรัฐอเมริกา (GOES), ญี่ปุ่น (Himawari), เกาหลีใต้ (GEO-KOMPSAT), จีน (FY-2, FY-4), รัสเซีย (Elektro–L) และอินเดีย (INSAT). ดาวเทียมเหล่านั้นโคจรในระนาบศูนย์สูตรที่ระดับความสูง 38,500 km. ที่ระดับความสูงนี้, อัตราเร็วของดาวเทียมจะเท่ากับการหมุนของโลก และดาวเทียมจึงดูเหมือนอยู่กับที่เหนือจุดใดจุดหนึ่งบนเส้นศูนย์สูตร. วงโคจรนี้ยอมให้ดาวเทียมสังเกตการณ์พื้นที่เดิมได้อย่างต่อเนื่อง: 42% ของพื้นผิวโลก. เพื่อที่จะให้ครอบคลุมทั่วทั้งโลก ก็จำเป็นต้องใช้เครือข่ายของดาวเทียม 5-6 ดวง. อย่างไรก็ตามดาวเทียมเหล่านี้จะมองไม่เห็นขั้วโลกเลย.

Meteosat
Meteosat
GOES
GOES
Himawari
Himawari
GEO-KOMPSAT-2A
GEO-KOMPSAT-2A
FY-2
FY-2
FY-4
FY-4
Elektro-L
Elektro-L
INSAT
INSAT

ดาวเทียมวงโคจรแนวขั้วโลก

ดาวเทียมวงโคจรแนวขั้วโลกตรวจสภาพอากาศถูกดำเนินงานโดย EUMETSAT (Metop), สหรัฐอเมริกา (NOAA), รัสเซีย (Meteor) และจีน (Fengyun-3). ดาวเทียมเหล่านี้จะครอบคลุมได้ทั่วทั้งโลกจากดาวเทียมดวงเดียว.

Metop
Metop
NOAA
NOAA
Meteor
Meteor
FY-3
FY-3
คำถามที่ถูกถามบ่อย:
วงโคจรค้างฟ้า:
วงโคจรแนวขั้วโลก: